วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556

การทดลองขยายพันธุ์ PSB

จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง 
จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (PhotoSynthetic Bacteria ; PSB) พบกระจายทั่วไปในธรรมชาติ ตามแหล่งน้ำจืด น้ำเค็ม ทะเลสาบทั้งน้ำเค็มและน้ำจืด น้ำพุร้อน และน้ำทะเลบริเวณขั้วโลกเหนือ นอกจากนี้ยังพบตามแหล่งน้ำเสีย บ่อบำบัดน้ำเสีย และดิน จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงสามารถใช้บำบัดน้ำเสียจากอาคารบ้านเรือน การเกษตร อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมทางเคมีและปิโตรเลียม เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการนำมาใช้เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร โดยเฉพาะการใช้เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว ซึ่งพบว่าสามารถเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากถึงไร่ละ 20 – 30 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากดินในบริเวณรากข้าวในระยะข้าวตั้งท้องจะมีสภาวะแบบไม่มีออกซิเจนทำให้แบคทีเรียที่ในกลุ่มแอนแอโรบิคแบคทีเรีย (Anaerobic Bacteria) เจริญได้ดี สร้างก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์ (H2S) ซึ่งมีผลไปยับยั้งกระบวนการสร้างเมตาโบลิซึมของรากข้าว แต่เมื่อนำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงมาใส่ลงในดินในระยะเวลาดังกล่าวจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงจะเปลี่ยนไฮโดรเจนซัลไฟด์ให้อยู่ในรูปสารประกอบซัลเฟอร์ในรูปซัลเฟตที่ไม่เป็นพิษต่อราก จึงมีผลให้รากของต้นข้าวเจริญงอกงามมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัดและลักษณะของต้นข้าวก็มีความแข็งแรง นอกจากนี้เซลล์ของจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง  ยังสามารถนำมาใช้เป็นแหล่งอาหารเสริมของสัตว์ได้เพราะเซลล์ของจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงจะประกอบด้วยโปรตีนสูงถึงร้อยละ 60-65  ซึ่งโปรตีนเหล่านี้ประกอบด้วยกรดอะมิโนที่จำเป็นครบถ้วน และยังมีวิตามินและแร่ธาตุ เช่น วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามินบี 6 กรดฟอลิค วิตามินบี 12 วิตามินซี วิตามินดี วิตามินอี รงค์วัตถุสีแดง (carotenoid) และสารโคแฟคเตอร์ เช่น ยูบิควิโนน (Ubiquinone) โคเอนไซม์คิว (Coenzyme-Q) 
จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงมีอยู่มากมายหลากหลายสายพันธุ์แต่ละสายพันธุ์ให้ประโยชน์ที่แตกต่างกันออกไปในที่นี้จะกล่าวถึงสายพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพที่เหมาะกับประเทศไทยได้แก่  Rhodopseudomonas capsulatus.      ซึ่งมีความสามารถพิเศษที่หลากหลายใช้ในวงการเกษตรต่างๆไม่ว่าจะเป็น สัตว์น้ำ  สัตว์บก  พืชสวนพืชไร่ อุตสาหกรรม บำบัดน้ำเสีย เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการนำไปใช้ซึ่งที่กล่าวมานั้นมีอยู่ในผลิตภัณฑ์ โดยได้คัดเลือกสายพันธุ์ที่โดดเด่น สายพันธุ์นี้คือ Rhodopseudomonas  capsulatus.   ให้อยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ชีวภาพชนิดน้ำเพื่อการเกษตร 





ไซโตไคนิน Cytokynin เกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์ และการยืดตัวของเซลล์ส่งเสริมการสร้าง แคลลัสเร่งการแตกตาข้างชะลอการชราภาพ (senescence)ช่วยในการเคลื่อนย้ายธาตุอาหารในพืชส่งเสริมการสังเคราะห์โปรตีนชะลอการสูญเสียคลอโรฟิลล์
ออกซิน Auxin กระตุ้นการแบ่งเซลล์และการขยายตัวของเซลล์ จึงทำให้ส่วนของพืชมีการเจริญเติบโตขึ้น .ส่งเสริมการออกรากของกิ่งชำและการเกิดแคลลัสของกิ่งตอน กระตุ้นการติดผลและการเจริญเติบโตของผล ยับยั้งการเจริญเติบโตของตาข้าง ส่งเสริมการเกิดดอกตัวผู้ในพืชบางชนิด เช่น เงาะ ส่งเสริมการออกดอกติดผลในพืชบางชนิด เช่น สับปะรด 
กรดอินโดลบิวทิริก (Indolebutiric acid : IBA) และ กรดอินโดลโพรพิออนิก (Indolepropionic acid  IPA) กรดอินโดล-3-อะซิติก (Indole-3-acetic acid IAA)   ประโยชน์ช่วยขยายขนาดเซลล์ กระตุ้นการแบ่งเซลล์ 
วิตามินบี 1 มีความสำคัญต่อเมตาบอลิซึมของพลังงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมตาบอลิซึม ของคาร์โบไฮเดรต โดยทำหน้าที่ เป็น co-enzyme ใน oxidative decarboxylation
วิตามินบี 2 หรือ ไรโบฟลาวิน (Riboflavin) จัดว่าเป็นวิตามินที่มีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของเซลล์ พบว่าพืชจะมีความต้องการวิตามิน บี 2 เพิ่มขึ้นในระยะที่เซลล์กำลังเจริญเติบโต เช่น ระยะที่แตกราก หรือระยะที่แตกกอและติดผลจึงมีความต้องการวิตามิน บี 2 สูง
วิตามินบี6 พายริดอกซิล ( Pyridoxine ) ประโยชน์และหน้าที่สำคัญ ของวิตามินบี6 พายริดอกซิล  ( Pyridoxine )  เป็นตัวสำคัญที่จะทำให้การดูดซึมของวิตามินบี12 ได้เต็มที่และสมบูรณ์ช่วยเสริม วิตามินเอฟ ช่วยเผาผลาญ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และ โปรตีน ให้เป็นประโยชน์ต่อพืชและสัตว์ ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันให้กับพืชและสัตว์ช่วยในการปล่อยน้ำตาล ( Glycogen ) เป็นกำลังงานช่วยในการควบคุมความสมดุลของน้ำ
โคเอนไซม์คิวเท็น (Coenzyme Q10) โคเอ็นไซม์คิว10 (Coenzyme Q10) เรียกย่อๆว่า โคคิวเท็น (CoQ10) เป็นสารที่มีคุณสมบัติคล้ายวิตามิน เป็นสารเคมีในกลุ่มของสารควิโนน (Quinone) บางครั้งเรียกว่า ยูบิควิโนน (Ubiquinone) พบในไมโตคอนเดรีย (Mitochondria) ซึ่งเกี่ยวข้องกับกลุ่มขบวนการสร้างพลังงานที่อยู่ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต จากการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ CoQ10 และการถ่ายทอดพลังงาน พบว่า CoQ10 ทำหน้าที่เป็นองค์ประกอบหลักในกลไกการสร้างพลังงานของเซลล์
ประโยชน์ที่ได้รับ
1.ช่วยย่อยสลายของเสียในแปลงนา โดยเฉพาะกลุ่มก๊าซไข่เน่า( ไฮโดรเย่นซัลไฟต์ ) โดยที่จุลินทรีย์จะเข้าไปทำลายพันธะทางเคมี โดยการกำจัด ก๊าซไฮโดรเย่น  ซึ่งเป็นพันธะทางเคมีหลักของก๊าซไข่เน่า  ( H2S )  โดยนำของเสียนั้นมาเป็นพลังงานใช้ในการเจริญเติบโตและแบ่งเซลล์  และระหว่างกระบวนการที่กล่าวมานั้นจุลินทรีย์ได้ ขับของเสียออกมาให้อยู่ในรูปกลุ่ม โกสฮอร์โมน ที่มีรายละเอียดเบื้องต้น
2.ช่วยลดสภาวะโลกร้อนได้อย่างมาก  โดยเข้าไปทำลายพันธะเคมีของกลุ่มก๊าซมีเธน ( CH4 ) โดยการย่อยสลายก๊าซไฮโดรเย่น จึงทำให้โครงสร้างเสียไป เหลือแต่คาร์บอนซึ่งสามารถย่อยสลายได้โดยธรรมชาติ ซึ่งแปลงนาโดยทั่วไปย่อมมีกลุ่มก๊าซของเสียอยู่แล้ว
3.ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันโรคพืชได้ดี ทำให้เปลือกหรือลำต้นแข็งแรง ทนต่อการกัดกินของแมลง
4.ช่วยกระตุ้นเซลล์เจริญบริเวณปลายรากพืชให้ขยายตัวและแตกแขนงได้ดีทำให้มีรากฝอยที่หากินเก่งจำนวนมาก
จึงทำให้พืชสามารถเพิ่มผลผลิตได้ดีเนื่องจากการสะสมอาหารได้มาก
5.สามารถใช้แทนปุ๋ยยูเรีย หรือแอมโมเนียมซัลเฟตได้   โดยใช้หลักการย่อยสลายกลุ่มก๊าซของเสียให้เป็นธาตุอาหารหลักของพืชได้
6.เมื่อใช้เป็นประจำและต่อเนื่อง สามารถลดการใช้อาหารเสริม หรือปุ๋ยสูตรต่างๆลงได้ สูงสุด 50 % ทำให้ต้นทุนในการผลิตลดลงกำไรเพิ่มมากขึ้น
7.หากมีการนำจุลินทรีย์ไปใช้ผสมผสานร่วมกับน้ำหมักหรือปุ๋ยสูตรต่างๆ จะทำให้ผลผลิตยิ่งเพิ่ม และคุณภาพผลิตดีขึ้นตามด้วยชนิดของ PSB : Photosynthetic bacteria




แบคทีเรียสังเคราะห์แสง มันแบ่งเป็น 2กลุ่มหลัก
คือ ใช้ออกซิเจน และ ไม่ใช้ออกซิเจน

กลุ่มใช้ ออกซิเจน Cyanobacteria ลักษณะจะเป็นเมือกเขียวน้ำเงิน กลิ่นเหม็นเขียว



กลุ่มไม่ใช้ออกซิเจน แบ่งเป็นพวกที่ใช้อาหารคือ กาซไข่เน่า H2S แล กลุ่มใช้สารอินทรีย์ แต่ละกลุ่มมีแบบ2สี ม่วง กับ เขียว




วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556

ผักแปลกๆ ขนาดใหญ่ๆ

1. มะเขือยักษ์  หรือ มะเขือหยกภูพาน  (Giant Eggplant)


พันธุ์หยกภูพาน มะเขือผลใหญ่พิเศษขนาดผลโดยเฉลี่ย 0.5-2.5 กิโลกรัม สามารถนำมา
ปรุงอาหารรับประทานได้เช่นเดียวกันกับมะเขือปกติ ปลูกเลี้ยงง่าย เจริญเติบโตรวดเร็ว 1
เดือนเริ่มติดผล

มะเขือยักษ์พันธุ์หยกภูพาน ซึ่งตอนหลังได้รับการพิสูจน์แล้วว่าไม่ใช้พืช GMOs โดยเฉลี่ย
จะมีน้ำหนักประมาณลูกละ 1 กิโลกรัมครึ่ง และเมื่อเปรียบเทียบกับมะเขือทั่วไปแล้วจะมีขนาด
ใหญ่กว่า 30 เท่า ระหว่างที่ออกผลผลิตก็จะดูแลเป็นอย่างดี โดยการใส่ปุ๋ยคอกต้นละ 1 กิโลกรัม
ควบคู่กับการใช้น้ำหมักชีวภาพสลับกันไป" ซึ่งแต่ละต้นติดผลต้นละ 6-7 ลูก ลูกหนึ่งกินกันได้
ถึง 7-8 ครัวเรือน
ผลการทดลอง จึงสรุปได้ว่าปลูกมะเขือหยกภูพานเพื่อกินเพื่อใช้ประโยชน์ในการบริโภค

แบบชาวบ้าน เขาก็เก็บลูกมะเขือที่มีอายุประมาณ 10 วัน หลังออกกจะได้ลูกมะเขือยักษ์
อนุบาล มีเนื้อขาวล้วน ๆ ไม่มีเมล็ด ขนาดของมันก็ประมาณ ลูกเทนนิส

และสามารถปล่อยให้มีจำนวนลูกมะเขือห้อยแขวนอยู่บนต้นไม้เต็มที่ แต่ถ้าอยาก ปลูกให้เป็น
พืชแปลก เป็นมะเขือแฟนซีก็ต้องปล่อยให้มันแขวนโตงเตงอยู่บนกิ่งได้ 3-4 ลูก จะได้ยักษ์
เขียวขนาดใหญ่ แต่เป็นของใหญ่ที่กินได้ ไม่ว่าจะเอาไปต้ม ผัด แกง ทอด ชุบแป้ง ชุบไช่ทอด
ทำแกงเขียวหวานลูกชิ้นปลากราย ยกเว้นการเผา เพราะการเผามะเขือที่ใหญ่ ขนาดลูกมะพร้าว
อ่อนมันจะสุกเฉพาะข้างนอก ข้างในยังคงความดิบอยู่ เรียกว่า กว่าในจะสุกนอกก็ไหม้เสียแล้ว



2 มะเขือม่วงยักษ์อิสราเอล
 
แบบอิสราเอล คือแบบผลกลมอ้วนเหมือนหยดน้ำ หรือทรงลูกแพร์ ก้านตรงขั้วผลเป็น
สีเขียว(หนัก 0.5-1 กิโลกรัม) ก็เลยเรียก “มะเขือม่วงก้านเขียว” มักเห็นในอาหารฝรั่ง
ง่ายสุดก็ย่างรวมกับผักอื่น ๆ เช่น พริกหวาน มะเขือเทศ ราดน้ำมันมะกอก
เกลือ พริกไทย
ประโยชน์ ทางอาหาร นิยมนำไปเผาไฟ หรือลวกน้ำร้อนพอสลบ รับประทานกับ
น้ำพริกชนิดต่างๆ มีรสชาติหวานหอมอร่อยมาก ทางภาคเหนือยังใช้ต้มหรือเผา
ตำเป็นน้ำพริกมะเขือรับประทานกับผักสดผักเคียงชนิดต่างๆด้วย

สำหรับกลุ่มที่ปลูกมะเขือยักษ์นี้ได้วิเคราะห์ว่าควรจะปลูก เนื่องจากเป็นพืชที่ปลูกง่าย โตไว ให้ผลตอบแทนเร็ว และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้นาน มีคุณค่าทางอาหารสูง อุดมด้วยวิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามินซี ธาตุเหล็กและแคลเซียม อีกทั้งเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคสูงสุด เพราะสามารถบริโภคได้ทั้งเป็นผักสด นอกเหนือจากกินมะเขือสดกันมากแล้ว คนไทยยังใช้มะเขือมาทำอาหารมากมายเป็นพิเศษ ทั้งปิ้ง เผา ผัด และเอามาแกง ที่ขึ้นหน้าขึ้นตาที่สุด คือเอามะเขือมาปรุงรสน้ำพริกกะปิ น้ำพริกอื่นๆ เครื่องจิ้มต่างๆ คนไทยเองก็กินและปลูกมะเขือมาเนิ่นนานแล้ว ผัดเผ็ดต่างๆ มักใส่มะเขือเปราะที่หั่นเป็นซีกๆ ยำเนื้อย่างมะเขือเปราะใช้มะเขือฝานเป็นแว่นบางๆ มะเขือเปราะใส่ในหลนปลาร้าหรือปลาร้าสำเร็จ ช่วยทำให้หลนมีรสชาติกลมกล่อมขึ้น นอกจากนั้น ยังนิยมใส่ในแกงเผ็ด แกงเขียวหวาน แกงป่า มะเขือเปราะในแกงต่างๆ จะอ่อนนุ่มและดูดเอาน้ำและรสชาติของแกงไว้มาก อีกทั้งทำให้แกงข้นมากขึ้น มะเขือเปราะเวลาสุกจะมีรสหวานอ่อนๆ ซึ่งช่วยปรุงรสแกงให้กลมกล่อมขึ้น แกงแบบพื้นบ้านประจำภาค เช่น แกงแค แกงโฮะ ในภาคเหนือ และแกงเผ็ดแบบปักษ์ใต้ก็ขาดมะเขือเปราะไม่ได้ มะเขือเปราะยังเป็นที่รู้จักและแพร่หลายในต่างประเทศมากเป็นพิเศษ ถึงกับเรียกกันว่า มะเขือไทย (Thai eggplant) มีวางจำหน่ายตามซุปเปอร์มาร์เก็ตใหญ่ๆ ส่วนใหญ่มักนิยมใส่แกงเผ็ดเหมือนกัน



Credit 
http://202.143.172.37/2615/?name=knowledge&file=readknowledge&id=21
http://pantip.com/topic/30050474

วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2556

ผักโขม ปวยเล้ง Spinach


Credit : http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic=5567.msg42993


หลายท่านคงจะรู้จัก Popeye จากภาพยนตร์การ์ตูน
ยามใดที่ popeye ต้องการเพิ่มพละกำลังต่อสู้ศัตรู
ก็จะยกกระป๋อง spinach ขึ้นมากิน
แล้วกล้ามก็จะขึ้นมาให้เห็นทันตา





จากข้อมูลหลายแห่ง ทำให้ได้รับทราบว่า Spinach นั้น
จริงๆแล้วคือผักปวยเล้ง ไม่ใช่ผักโขม 


 ...
 

ภาพจาก www.hort.purdue.eduและ www.agric-prod.mju.ac.th




และจากข้อมูลของ Guzzie Kitchen  จาก www.maama.com
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผัก Spinach นี้ไว้น่าสนใจมาก



อาหารยอดฮิตติดอันดับสามของเด็กอเมริกัน (รองจาก ไก่งวง และไอศกรีม) 
ที่เรียกชื่อกันเป็นภาษาฝรั่งว่า "Spinach" นั้น 
ถ้าจะแปลเป็นภาษาไทยแล้ว ต้องใช้คำว่า "ปวยเล้ง" ถึงจะถูกต้อง 
หาใช่แปลว่า "ผักโขม" ดังที่คนไทยเข้าใจไม่ 

ความเข้าใจไขว้เขวอย่างผิด ๆ ทั้งหมดที่เกิดขึ้นนี้ 
กัสซี่ขอกล่าวโทษแก่ผู้ที่แปลบทภาพยนต์การ์ตูนชุด Popeye the Sailor ในภาษาไทย 
ที่แปลคำว่า "Spinach" ในประโยคภาษาอังกฤษ
ที่ Popeye พูดก่อนที่ จะยกกระป๋อง Spinach ขึ้นกิน 
ก่อนที่จะกลายร่างจากกะลาสีผอมกะหร่องเป็นนักสู้กล้ามใหญ่
เข้าต่อสู้กับเหล่าร้าย 
โดยใช้คำว่า "ผักโขม" เพื่อแทนคำว่า "Spinach" ซึ่งเป็นคำแปลที่ "ไม่ถูกต้อง" 

"ปวยเล้ง" หรือ "Spinach" ผักใบใหญ่หนาทรงกลม สีเขียวเป็นมัน 
แต่ก้านผอมนิดเดียวนั้น ถึงจะมีชื่อออกไปในทางหมวย ๆ หน่อย 
แต่ความจริงแล้ว เป็นผักที่มีถิ่นกำเนิดจากเปอร์เซีย (อิหร่าน) 
หาใช่เป็นผักของจีนตามที่คนไทยเราเข้าใจ 

ตามประวัติบอกว่า ชื่อเดิมของ "ปวยเล้ง" นั้นคือ "Aspanakh" 
เป็นผักที่ชาวอาหรับชอบกินกับมาก 
จนถึงขนาดให้สมญานามว่าเป็น "Prince of Vegetables" 

เป็นผักที่ชาวอาหรับนำติดตัวไปด้วยในคราวยกทัพบุกสเปน ในศตวรรษที่ 11 
นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา สเปนกลายเป็นศูนย์กลาง
การปลูก "ปวยเล้ง" และแพร่หลายไปทั่วภูมิภาคในยุโรป 
และชื่อเดิม Aspanakh ก็ถูกเรียกผิดเพี้ยนไปในภาษาละตินว่า "Spinachia" 
และถูกเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า "Spinach" ในศตวรรษที่ 14 

และ "ปวยเล้ง" เข้าไปสู่ประเทศจีนเป็นครั้งแรก 
โดยกษัตริย์แห่งเนปาลเป็นผู้นำเข้ามาถวายจักรพรรดิแห่งจีน 
ต่อมาเป็นผักที่ได้รับความนิยมปลูกกันอย่างแพร่หลาย
ชื่อ "poh ts'ai" ในภาษาจีนของปวยเล้ง 
บอกถึงถิ่นที่มาของปวยเล้งได้เป็นอย่างดี 
เพราะคำว่า "poh ts'ai" มีความหมายว่า "ผักจากเปอร์เซีย" 

"ปวยเล้ง" เป็นผักที่มีธาตุเหล็ก แคลเซียม โปรตีน วิตามินซี 
และ วิตามินบี 2 ในปริมาณที่สูง 
อีกทั้งเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยเบต้าแคโรทีนและซาโปนิน 
(สารที่ช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือดได้) อีกด้วย 
สามารถทานได้ทั้งแบบสด ๆ ในจานสลัด 
หรือใช้จิ้มกับน้ำพริก หรืออาจจะนำไปทำให้สุก
ในอาหารจานต่าง ๆ จะเป็นต้มจืด ผัด หรืออบก็ได้ทั้งนั้น 

เขียนมาถึงตรงบรรทัดนี้ อาจจะมีคุณผู้อ่านบางท่าน 
เกิดความสงสัยในใจว่า เจ้า Spinach ที่กัสซี่พูดถึงนี่ 
มันต่างจาก "ผักโขม" ของไทยที่เราเห็นวางขาย
กันตามตลาดและซุปเปอร์มาร์เก็ตที่ตรงไหน?? 

นอกเหนือจากความต่างในเรื่อง "ราคา" แล้ว 
(ราคาล่าสุดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 18 มกราคม 2544 
เจ้า Spinach ราคากิโลกรัมละ 180 บาท 
แต่ "ผักโขม" ราคากิโลกรัมละ 80 บาท) 

ลักษณะภายนอกก็ยังแตกต่างกันอย่างมากด้วย 
เพราะ "ผักโขม" ของบ้านเรา ใบจะมีขนาดใหญ่กว่าแต่ใบบาง 
ใบมีสีเขียวด้าน ๆ ไม่มัน ก้านจะโต มีขนอ่อนใต้ใบ 
และลำต้นบางทีจะมีหนาม ไม่สามารถนำมาใช้ทานสด ๆ 
ในจานสลัดได้เนื่องจากค่อนข้างจะระคายคอ 
นิยมนำไปปรุงให้สุกมากกว่า 

เพราะเมื่อสุกแล้วจะมีรสหวานและเนื้อนุ่ม 
ในภาษาอังกฤษจะเรียกผักชนิดนี้ว่า"Asian Spinach" 
หรือ "Chinese Spinach" 

ผักโขมที่มีวางขายในท้องตลาดจะแบ่งออกเป็น 
"ผักโขมบ้าน" , "ผักโขมสวน" และ "ผักโขมจีน" 




 ...
 

"ผักโขมบ้าน" ก็ยังแบ่งออกเป็นชนิดย่อย ๆ
ได้อีก 2 ชนิด คือ "ผักโขมบ้านชนิดใบกลมเล็ก"
ที่มีลำต้นเล็ก ก้านเป็นสีแดง
ใบมีสีเขียวเหลือบแดง
ส่วนใหญ่มีวางขายในตลาดทางภาคเหนือในช่วงฤดูฝน


ภาพจาก http://groups.msn.com/Guzzie/ 



ผักโขมบ้านชนิดใบเล็กมีหนาม
(ภาพจาก http://iloveeating.wordpress.com)



ส่วนอีกชนิดหนึ่งคือ "ผักโขมหนาม" 
ผักชนิดนี้จะมีลำต้นสูง มีใบใหญ่ 
ใช้เฉพาะส่วนยอดอ่อนมาปรุงอาหารเท่านั้น 
หาเก็บได้ตามป่าในช่วงฤดูฝน 

"ผักโขมสวน" จะมีใบใหญ่บาง สีเขียวอ่อน ต้นจะยาว 

"ผักโขมจีน" เป็นผักโขมต้นใหญ่ ใบใหญ่สีเขียวเข้ม 
ขอบใบหยัก ใบสดมีรสเผ็ดและกลิ่นฉุน 
ผักโขมชนิดนี้จะสามารถหาซื้อได้ง่ายที่สุด 
เพราะมีวางขายทั้งในตลาดและซุปเปอร์มาร์เก็ตทั่วไป 

เวลาเลือกซื้อควรเลือกชนิดที่มีใบสีเขียวสดแต่ไม่เขียวจนดำ 
เพราะนั่นแสดงว่าเป็นผักโขมแก่ รสจะขม เนื้อผักหยาบ ไม่อร่อย 
เลือกดูผักที่ใบไม่ช้ำ และเมื่อซื้อมาแล้วควรนำไปปรุงอาหารทันที 
จึงจะได้คุณค่าทางอาหารในปริมาณค่อนข้างมาก 

นั่นแหละคะ คือ คือข้อแตกต่างระหว่าง Spinach และ Asian Spinach 



นอกจากนี้คุณสมบัติพิเศษของผักโขม
สามารถช่วยชะลอความเสื่อมของดวงตาได้ 
จากบทความของเดลินิวส์ แจ้งว่า

จักษุแพทย์ สตีเวน จี แพรตต์ แห่งโรงพยาบาลสคริปป์เมโมเรียล
ในแคลลิฟอร์เนีย พบว่า 



ในผักโขม จะมีสาร ลูทีน และ สารเซอักแซนทิน อยู่เป็นจำนวนมาก 
โดย สารแคโรทีนอนด์ทั้งสองนี้ จะมีสรรพคุณช่วยชะลอความเสื่อมของดวงตา 
ซึ่งเป็นสาเหตุใหญ่ที่ทำให้คนอายุ 65 ปีขึ้นไป อาจสูญเสียการมองเห็นได้

นอกจากนั้น ผักโขมซึ่งอุดมด้วยธาตุเหล็ก ยังช่วยเสริมสร้างสติปัญญา
 ทำให้สมองตื่นตัวตลอดเวลาแม้ในผู้สูงวัย อีกทั้งยังมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ 
จึงช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจ มะเร็ง และหลอดเลือด




เพราะฉะนั้น เราน่าจะหันมานิยมกินทั้งผักโขมและปวยเล้งกันให้มาก
เพราะอุดมไปด้วยประโยชน์มากมายจริงๆ  



วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556

ประโยชน์ของ Photosynthesis Bacteria

บทความคัดลอกมาจาก  http://archive.bio.ed.ac.uk/jdeacon/microbes/nitrogen.htm



The Microbial World:The Nitrogen cycle and Nitrogen fixationProduced by Jim Deacon
Institute of Cell and Molecular Biology, The University of Edinburgh

Role of nitrogen in the biosphere

The growth of all organisms depends on the availability of mineral nutrients, and none is more important than nitrogen, which is required in large amounts as an essential component of proteins, nucleic acids and other cellular constituents. There is an abundant supply of nitrogen in the earth's atmosphere - nearly 79% in the form of N2 gas. However, N2 is unavailable for use by most organisms because there is a triple bond between the two nitrogen atoms, making the molecule almost inert. In order for nitrogen to be used for growth it must be "fixed" (combined) in the form of ammonium (NH4) or nitrate (NO3) ions. The weathering of rocks releases these ions so slowly that it has a neglible effect on the availability of fixed nitrogen. So, nitrogen is often the limiting factor for growth and biomass production in all environments where there is suitable climate and availability of water to support life.
Microorganisms have a central role in almost all aspects of nitrogen availability and thus for life support on earth:
  • some bacteria can convert Ninto ammonia by the process termed nitrogen fixation; these bacteria are either free-living or form symbiotic associations with plants or other organisms (e.g. termites, protozoa)
  • other bacteria bring about transformations of ammonia to nitrate, and of nitrate to N2 or other nitrogen gases
  • many bacteria and fungi degrade organic matter, releasing fixed nitrogen for reuse by other organisms.
All these processes contribute to the nitrogen cycle.
We shall deal first with the process of nitrogen fixation and the nitrogen-fixing organisms, then consider the microbial processes involved in the cycling of nitrogen in the biosphere.

Nitrogen fixationA relatively small amount of ammonia is produced by lightning. Some ammonia also is produced industrially by the Haber-Bosch process, using an iron-based catalyst, very high pressures and fairly high temperature. But the major conversion of N2 into ammonia, and thence into proteins, is achieved by microorganisms in the process called nitrogen fixation (or dinitrogen fixation).
The table below shows some estimates of the amount of nitrogen fixed on a global scale. The total biological nitrogen fixation is estimated to be twice as much as the total nitrogen fixation by non-biological processes.
Type of fixationN2 fixed (1012 g per year, or 106 metric tons per year)
Non-biological
Industrialabout 50
Combustionabout 20
Lightningabout 10
Totalabout 80
Biological
Agricultural landabout 90
Forest and non-agricultural landabout 50
Seaabout 35
Totalabout 175
Data from various sources, compiled by DF Bezdicek & AC Kennedy, in Microorganisms in Action (eds. JM Lynch & JE Hobbie). Blackwell Scientific Publications 1998.
To illustrate the importance of biological nitrogen fixation, the image below shows part of the Lower Sonoran desert in Arizona. Every plant that we see in this scene depends ultimately on biological nitrogen fixation. Both free-livingcyanobacteria and the cyanobacterial associates of lichens initially contributed nitrogen to the soil by forming a cryptobiotic crust. Now numerous leguminous plants occur in this desert, with nitrogen-fixing Rhizobium in their root nodules. Examples are the green-stemmed brush-like trees at the right and left of the image (Parkinsonia species, common name "paloverde"), and several acacias and mesquites (not seen in this image).
Mechanism of biological nitrogen fixation
Biological nitrogen fixation can be represented by the following equation, in which two moles of ammonia are produced from one mole of nitrogen gas, at the expense of 16 moles of ATP and a supply of electrons and protons (hydrogen ions):
N+ 8H+ + 8e- + 16 ATP = 2NH3 + H+ 16ADP + 16 Pi
This reaction is performed exclusively by prokaryotes (the bacteria and related organisms), using an enzyme complex termed nitrogenase. This enzyme consists of two proteins - an iron protein and a molybdenum-iron protein, as shown below.
The reactions occur while N2 is bound to the nitrogenase enzyme complex. The Fe protein is first reduced by electrons donated by ferredoxin. Then the reduced Fe protein binds ATP and reduces the molybdenum-iron protein, which donates electrons to N2, producing HN=NH. In two further cycles of this process (each requiring electrons donated by ferredoxin) HN=NH is reduced to H2N-NH2, and this in turn is reduced to 2NH3.
Depending on the type of microorganism, the reduced ferredoxin which supplies electrons for this process is generated by photosynthesis, respiration or fermentation.
There is a remarkable degree of functional conservation between the nitrogenase proteins of all nitrogen-fixing bacteria. The Fe protein and the Mo-Fe protein have been isolated from many of these bacteria, and nitrogen fixation can be shown to occur in cell-free systems in a laboratory when the Fe protein of one species is mixed with the Mo-Fe protein of another bacterium, even if the species are very distantly related.
The nitrogen-fixing organismsAll the nitrogen-fixing organisms are prokaryotes (bacteria). Some of them live independently of other organisms - the so-called free-living nitrogen-fixing bacteria. Others live in intimate symbiotic associations with plants or with other organisms (e.g. protozoa). Examples are shown in the table below.
Examples of nitrogen-fixing bacteria (* denotes a photosynthetic bacterium)
Free living
Symbiotic with plants
Aerobic
Anaerobic (see Winogradsky column for details)
Legumes
Other plants
Azotobacter
Beijerinckia
Klebsiella
 (some)
Cyanobacteria (some)*
Clostridium (some)
Desulfovibrio

Purple sulphur bacteria*
Purple non-sulphur bacteria*
Green sulphur bacteria*
Rhizobium
Frankia
Azospirillum
A point of special interest is that the nitrogenase enzyme complex is highly sensitive to oxygen. It is inactivated when exposed to oxygen, because this reacts with the iron component of the proteins. Although this is not a problem for anaerobic bacteria, it could be a major problem for the aerobic species such as cyanobacteria (which generate oxygen during photosynthesis) and the free-living aerobic bacteria of soils, such as Azotobacter and Beijerinckia. These organisms have various methods to overcome the problem. For example, Azotobacter species have the highest known rate of respiratory metabolism of any organism, so they might protect the enzyme by maintaining a very low level of oxygen in their cells. Azotobacter species also produce copious amounts of extracellular polysaccharide (as doRhizobium species in culture - see Exopolysaccharides). By maintaining water within the polysaccharide slime layer, these bacteria can limit the diffusion rate of oxygen to the cells. In the symbiotic nitrogen-fixing organisms such asRhizobium, the root nodules can contain oxygen-scavenging molecules such as leghaemoglobin, which shows as a pink colour when the active nitrogen-fixing nodules of legume roots are cut open. Leghaemoglobin may regulate the supply of oxygen to the nodule tissues in the same way as haemoglobin regulates the supply of oxygen to mammalian tissues. Some of the cyanobacteria have yet another mechanism for protecting nitrogenase: nitrogen fixation occurs in special cells (heterocysts) which possess only photosystem I (used to generate ATP by light-mediated reactions) whereas the other cells have both photosystem I and photosystem II (which generates oxygen when light energy is used to split water to supply H2 for synthesis of organic compounds). Extensive references to these points can be found at: http://chemweb.urich.edu/~sjanson/index.htm (not on this server)
Symbiotic nitrogen fixation1. Legume symbioses
The most familiar examples of nitrogen-fixing symbioses are the root nodules of legumes (peas, beans, clover, etc.).

Part of a clover root system bearing naturally occurring nodules of Rhizobium. Each nodule is about 2-3 mm long.

Clover root nodules at higher magnification, showing two partly crushed nodules (arrowheads) with pink-coloured contents. This colour is caused by the presence of the pigment leghaemoglobin - a unique metabolite of this type of symbiosis. Leghaemoglobin is found only in the nodules and is not produced by either the bacterium or the plant when grown alone.
In these leguminous associations the bacteria usually are Rhizobium species, but the root nodules of soybeans, chickpea and some other legumes are formed by small-celled rhizobia termed Bradyrhizobium. Nodules on some tropical leguminous plants are formed by yet other genera. In all cases the bacteria "invade" the plant and cause the formation of a nodule by inducing localised proliferation of the plant host cells. Yet the bacteria always remain separated from the host cytoplasm by being enclosed in a membrane - a necessary feature in symbioses (see the image below).
Part of a crushed root nodule of a pea plant, showing four root cells containing colonies of Rhizobium. The nuclei (n) of two root cells are shown; cw indicates the cell wall that separates two plant cells. Although it cannot be seen clearly in this image, the bacteria occur in clusters which are enclosed in membranes, separating them from the cytoplasm of the plant cells.
In nodules where nitrogen-fixation is occurring, the plant tissues contain the oxygen-scavenging molecule,leghaemoglobin (serving the same function as the oxygen-carrying haemoglobin in blood). The function of this molecule in nodules is to reduce the amount of free oxygen, and thereby to protect the nitrogen-fixing enzymenitrogenase, which is irreversibly inactivated by oxygen.
Some excellent images and discussion of these leguminous associations can be found at:
CIFN/UNAM Brochure - Research (not on this server)
2. Associations with Frankia
Frankia is a genus of the bacterial group termed actinomycetes - filamentous bacteria that are noted for their production of air-borne spores. Included in this group are the common soil-dwelling Streptomyces species which produce many of the antibiotics used in medicine (see Streptomyces). Frankia species are slow-growing in culture, and require specialised media, suggesting that they are specialised symbionts. They form nitrogen-fixing root nodules (sometimes called actinorhizae) with several woody plants of different families, such as alder (Alnus species), sea buckthorn (Hippophae rhamnoides, which is common in sand-dune environments) and Casuarina (a Mediterranean tree genus). Figure A (below) shows a young alder tree (Alnus glutinosa) growing in a plant pot, and Figure B shows part of the root system of this tree, bearing the orange-yellow coloured nodules (arrowheads) containing Frankia.
Alder and the other woody hosts of Frankia are typical pioneer species that invade nutrient-poor soils. These plants probably benefit from the nitrogen-fixing association, while supplying the bacterial symbiont with photosynthetic products.
3. Cyanobacterial associationsThe photosynthetic cyanobacteria often live as free-living organisms in pioneer habitats such as desert soils (seecyanobacteria) or as symbionts with lichens in other pioneer habitats. They also form symbiotic associations with other organisms such as the water fern Azolla, and cycads.The association with Azolla, where cyanobacteria (Anabaena azollae) are harboured in the leaves, has sometimes been shown to be important for nitrogen inputs in rice paddies, especially if the fern is allowed to grow and then ploughed into the soil to release nitrogen before the rice crop is sown. A symbiotic association of cyanobacteria with cycads is shown below. The first image shows a pot-grown plant. The second image shows a close-up of the soil surface in this pot. Short, club-shaped, branching roots have grown into the aerial environment. These aerial roots contain a nitrogen-fixing cyanobacterial symbiont.
In addition to these intimate and specialised symbiotic associations, there are several free-living nitrogen-fixing bacteria that grow in close association with plants. For example, Azospirillum species have been shown to fix nitrogen when growing in the root zone (rhizosphere) or tropical grasses, and even of maize plants in field conditions. Similarly,Azotobacter species can fix nitrogen in the rhizosphere of several plants. In both cases the bacteria grow at the expense of sugars and other nutrients that leak from the roots. However, these bacteria can make only a small contribution to the nitrogen nutrition of the plant, because nitrogen-fixation is an energy-expensive process, and large amounts of organic nutrients are not continuously available to microbes in the rhizosphere.This limitation may not apply to the bacteria that live in root nodules or other intimate symbiotic associations with plants. It has been estimated that nitrogen fixation in the nodules of clover roots or other leguminous plants may consume as much as 20% of the total photosynthate.
The nitrogen cycleThe diagram below shows an overview of the nitrogen cycle in soil or aquatic environments. At any one time a large proportion of the total fixed nitrogen will be locked up in the biomass or in the dead remains of organisms (shown collectively as "organic matter"). So, the only nitrogen available to support new growth will be that which is supplied by nitrogen fixation from the atmosphere (pathway 6 in the diagram) or by the release of ammonium or simple organic nitrogen compounds through the decomposition of organic matter (pathway 2). Some of other stages in this cycle are mediated by specialised groups of microorganisms and are explained below.
Nitrification
The term nitrification refers to the conversion of ammonium to nitrate (pathway 3-4). This is brought about by thenitrifying bacteria, which are specialised to gain their energy by oxidising ammonium, while using CO2 as their source of carbon to synthesise organic compounds. Organisms of this sort are termed chemoautotrophs - they gain their energy by chemical oxidations (chemo-) and they are autotrophs (self-feeders) because they do not depend on pre-formed organic matter. In principle the oxidation of ammonium by these bacteria is no different from the way in which humans gain energy by oxidising sugars. Their use of CO2 to produce organic matter is no different in principle from the behaviour of plants.
The nitrifying bacteria are found in most soils and waters of moderate pH, but are not active in highly acidic soils. They almost always are found as mixed-species communities (termed consortia) because some of them - e.g. Nitrosomonasspecies - are specialised to convert ammonium to nitrite (NO2-) while others - e.g. Nitrobacter species - convert nitrite to nitrate (NO3-). In fact, the accumulation of nitrite inhibits Nitrosomonas, so it depends on Nitrobacter to convert this to nitrate, whereas Nitrobacter depends on Nitrosomonas to generate nitrite.
The nitrifying bacteria have some important environmental consequences, because they are so common that most of the ammonium in oxygenated soil or natural waters is readily converted to nitrate. Most plants and microorganisms can take up either nitrate or ammonium (arrows marked "1" in the diagram). However, process of nitrification has some undesirable consequences. The ammonium ion (NH4+) has a positive charge and so is readily adsorbed onto the negatively charged clay colloids and soil organic matter, preventing it from being washed out of the soil by rainfall. In contrast, the negatively charged nitrate ion is not held on soil particles and so can be washed down the soil profile - the process termed leaching (arrow marked 7 in the diagram). In this way, valuable nitrogen can be lost from the soil, reducing the soil fertility. The nitrates can then accumulate in groundwater, and ultimately in drinking water. There are strict regulations governing the amount of nitrate that can be present in drinking water, because nitrates can be reduced to highly reactive nitrites by microorganisms in the anaerobic conditions of the gut. Nitrites are absorbed from the gut and bind to haemoglobin, reducing its oxygen-carrying capacity. In young babies this can lead to respiratory distress - the condition known as "blue baby syndrome". Nitrite in the gut also can react with amino compounds, forming highly carcinogenic nitrosamines.
Denitrification
Denitrification refers to the process in which nitrate is converted to gaseous compounds (nitric oxide, nitrous oxide and N2) by microorganisms. The sequence usually involves the production of nitrite (NO2-) as an intermediate step is shown as "5" in the diagram above. Several types of bacteria perform this conversion when growing on organic matter in anaerobic conditions. Because of the lack of oxygen for normal aerobic respiration, they use nitrate in place of oxygen as the terminal electron acceptor. This is termed anaerobic respiration and can be illustrated as follows:
In aerobic respiration (as in humans), organic molecules are oxidised to obtain energy, while oxygen is reduced to water:
C6H12O6 + 6 O2 = 6 CO2 + 6 H2O + energy
In the absence of oxygen, any reducible substance such as nitrate (NO3-) could serve the same role and be reduced to nitrite, nitric oxide, nitrous oxide or N2.
Thus, the conditions in which we find denitrifying organisms are characterised by (1) a supply of oxidisable organic matter, and (2) absence of oxygen but availability of reducible nitrogen sources. A mixture of gaseous nitrogen products is often produced because of the stepwise use of nitrate, nitrite, nitric oxide and nitrous oxide as electron acceptors in anaerobic respiration. The common denitrifying bacteria include several species of PseudomonasAlkaligenes andBacillus. Their activities result in substantial losses of nitrogen into the atmosphere, roughly balancing the amount of nitrogen fixation that occurs each year.
Further information: websitesInternational Symbiosis Society (not on this server)
A valuable site that deals with the ecology and physiology of N fixation:http://web.reed.edu/academic/departments/biology/nitrogen/ (not on this server)
A research-related site on Molecular genetics of plant-microbe interactions:http://www.lifesci.ucla.edu/mcdbio/html/ri4.htm (not on this server)
GO TO FULL LIST OF PROFILES?

This site is no longer maintained and has been left for archival purposes

Text and links may be out of date